อาจารย์ประจำเว็บไซต์


ดร.ดุษฎี  นิลดำ

(Dusadee  Nildum)

  • อาจารย์ประจำ : แขนงการโฆษณาและการสื่อสารการตลาด
  • Email : dusadee.ni@ssru.ac.th
  • ความเชี่ยวชาญ: การโฆษณา/ การสื่อสารการตลาด/ แบรนด์/ การตลาดดิจิทัล/ การวิจัย/
    การรณรงค์/ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์/ วัฒนธรรมศึกษา/ ฯลฯ
Contact Dee@Metahttps://web.facebook.com/adandimc.ssru

    ประสบการณ์ :

    ·อาจารย์ประจำสาขาวิชาการโฆษณาและการสื่อสารการตลาด วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ (2564– ปัจจุบัน)
    คณะวิทยาการจัดการ (2542 – 2564)

    ·ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสารภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (2562– ปัจจุบัน)

    ·ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา (2559 – ปัจจุบัน)

    ·ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ระดับอุดมศึกษา (2559 – ปัจจุบัน)

    ·กรรมการตัดสินผลงานการประกวดโฆษณา Adman Awards& Symposium (2558 –2560)

    ·อดีตรองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

    ·อดีตหัวหน้าสาขาวิชาการโฆษณาและการสื่อสารการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

    ·อดีตเลขานุการและกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

    ·อดีต Creative Copywriter Dai-Ichi Kikaku (Thailand) co.,ltd

    ผลงานทางวิชาการ:

    งานวิจัย
    - แผนการดำเนินการศึกษา โครงการติดตามและประเมินผลตามนโยบาย กสทช. ที่สำคัญในด้านการส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชน. (2565). (นักวิจัยร่วม).

    - การพลิกแพลงกลยุทธ์การโฆษณาและการส่งเสริมการตลาดนมผง ภายหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 (2563).  (นักวิจัยร่วม).

    - การพัฒนาตราผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษา: อำเภอวังทอง จ.พิษณุโลก.(2562).

    ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    - ดุษฎี  นิลดำ และนิตยา พรมศรี. (2566). readAwrite จากแพลตฟอร์มนิยายออนไลน์ยอดนิยมสู่การสร้างวัฒนธรรมแฟนคลับ. วารสารศิลปวัฒนธรรมสวนสุนันทา, 3(1).  17-28.

    - ดุษฎี  นิลดำ และธนกฤต องอาจ. (2566). ความผูกพันต่อตราแอปพลิเคชั่นไลน์ของผู้สูงอายุไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 17(1).  248-267.

    - ดุษฎี  นิลดำ และสุพิชฌา วัฒนะ. (2565). ผู้สร้างสรรค์เนื้อหาบนโลกออนไลน์: พัฒนาการ และกลยุทธ์การสร้างสรรค์. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(3).  21-30.

    - จิระนันท์ เมฆปัจฉาพิชิต และดุษฎี  นิลดำ. (2564). รูปแบบการดำเนินชีวิตของเจเนอเรชันซี. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า, 7(2). 38-52.

    - ชลธิชา แช่มชื่น และดุษฎี  นิลดำ. (2562). ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการบริโภคแก้วเจ้าจอมเบเกอรี่. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 4(1). 60-67.

    - ดุษฎี  นิลดำ และนภาภักดิ์ จักษุบท. (2562). ตราสินค้าผู้บริหารระดับสูง: แนวคิดและกรณีศึกษา. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 2(2).  90-100.

    - ดุษฎี  นิลดำ, ศุภกร ไกรษร, จักรกฤษณ์ กลิ่นเพ็ชร, และณัฐนันท์ เจริญวงษา. (2562). อุดมการณ์ในภาพยนตร์เรื่อง “ฉลาดเกมส์โกง”. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 4(1). 68-75.

     - ดุษฎี  นิลดำ. การดำเนินงานของบริษัทตัวแทนการโฆษณาดิจิทัลในประเทศไทย. (2561). วารสารวิทยาการจัดการ. 5(1). 70-87.

    - ดุษฎี  นิลดำ, อภิเดช คำสุดที, วิชญ์ภัทร ขาวหิรัญ และพิมพ์ลภัทร ชัยชนะ. (2561). อุดมการณ์ความเป็นไทยที่ถูกถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์เรื่องสันติ-วีณา. วารสารเซนต์จอห์น. 21(28). 281-293.

     เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

    - จีรญา อารยธรรมเลิศ, วันวิสา มาลาทอง, ปวันรัตน์ รัตนวงศ์ทอง, วรัญชิต หน่อนิล และดุษฎี นิลดำ(2566). ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าแบรนด์ GENTLE WOMAN. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับชาติ ครั้งที่ 6มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - จริญญา เจริญพร, ศิริลักษณ์ พยุงทอง,  ธนพร เมฆหมอก, เบญจพร แดริรัมย์ และดุษฎี นิลดำ. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชั่น Konvy ในกรุงเทพมหานคร. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับชาติ ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - ชุติกาญจน์  น้อยพลทัน, พรหมพร  แก้วเขื่อง, ธนพล  พักแก้ว และ ดุษฎี  นิลดำ. (2566). การรู้เท่าทันและพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงสื่อโฆษณาชวนเชื่อ (Clickbait) บนสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับชาติ ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - มณีกาญจน์ หอมสุวรรณ, ขวัญชนก โม่บุตร และดุษฎี  นิลดำ. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ที่ส่งผลต่อการใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันโรบินฮู้ด ในเขตกรุงเทพมหานคร. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับชาติ ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - จิระนันท์ เมฆปัจฉาพิชิต และดุษฎี  นิลดำ. (2564). การสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ของเจเนอเรชันซี. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 (3rd SMART: Synergistic Meeting of Anti-Aging and Regenerative Medicine of Thailand). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

    - ดุษฎี  นิลดำ, จรัสพรรณ วันดี,  จิรัชยา สายศรีแก้ว และกัณฑ์อเนก ประกอบสุข. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้แอพพลิเคชั่น Grab food ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. ในเอกสารประกอบการประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 เรื่อง “การยกระดับงานวิจัยสู่นวัตกรรม”. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

     - ดุษฎี  นิลดำ. (2562). การพัฒนาตราผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษา: บ้านแก่งจูงนาง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 6 (ICMSIT 2019). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - ดุษฎี  นิลดำ. (2559). แฟนศึกษา: กรณีศึกษา EXO-L, RAFC, Zoomer-X และ Nudie Jeans. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ครั้งที่ 3 (ICMSIT 2016). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

    - ดุษฎี  นิลดำ. (2557). การสื่อสารการตลาดเพื่อสร้างตราสินค้าชุมชนคลองโคน. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1 (ICMSIT 2014). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

     หนังสือ

    - สุธา พงศ์ถาวรภิญโญ, ดุษฎี  นิลดำ และนันทิดา โอฐกรรม (2548). หลักการสื่อสารองค์กร. กรุงเทพฯมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.




  00000